ความรู้สำหรับ ครู

แผนการจัดการเรียนรู้ของครู กศน. ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตบางบอน
สถานที่พบกลุ่ม  ศูนย์การเรียนชุมชน  ภาคเรียนที่  2 ปีการศึกษา  2556
 ประจำเดือน  ตุลาคม - พฤศจิกายน  2556
ชื่อ ครู กศน. นางสาวภัทรนันท์  สว่างวิจิตรา     ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 
ครั้งที่
สาระการเรียนรู้
เนื้อหารายวิชา
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
วิธีการจัดการเรียนรู้
ในห้องเรียน
ตนเอง
สื่ออิเล็กทรอนิกส์
สอนเสริม
1
27 ต.ค.56
ความรู้พื้นฐาน
(ตามรายวิชาที่สถานศึกษาลงทะเบียนเรียน)
1.วิเคราะห์เนื้อหาทุกรายวิชาที่ลงทะเบียนเรียน
2.ร่วมกันวางแผนการจัดการเรียนรู้
3.จัดทำแผนการเรียนรายบุคคลของผู้เรียน

ผู้เรียนสามารถวางแผนการเรียนในภาคเรียนที่ 2/2556 , จัดทำแผนการเรียนรายบุคคลได้ และมีความเข้าใจในการเลือกตั้งแบบประชาธิปไตย
-ทดสอบความรู้พื้นฐาน(ตามรายวิชาที่สถานศึกษาลงทะเบียนเรียน)
-เลือกตั้งองค์กรนักศึกษาประจำกลุ่ม



 2
3 พ.ย.56
- กิจกรรมพฤติกรรมกลุ่ม
- คัดเลือกองค์กรนักศึกษาประจำกลุ่ม
1.ทำความรู้จักกันระหว่างนักศึกษา
2.คัดเลือกองค์กรนักศึกษา กศน.เขตบางบอน
1.ผู้เรียนได้รู้จักซึ่งกันและกัน เพื่อนำไปสู่การทำงานกลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2.ผู้เรียนมีความเข้าใจในการเลือกตั้งแบบประชาธิปไตย
- เกมส์หาชื่อ-นามสกุล, ชื่อเล่น, หมายเลขโทรศัพท์ ของเพื่อนในห้องให้ได้จำนวนมากที่สุด
-เลือกตั้งองค์กรนักศึกษา กศน.เขตบางบอน







แผนการจัดการเรียนรู้ของครู กศน. ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตบางบอน
สถานที่พบกลุ่ม  ศูนย์การเรียนชุมชน  2 ปีการศึกษา 2556
 ประจำเดือน  พฤศจิกายน  2556
ชื่อ ครู กศน. นางสาวภัทรนันท์  สว่างวิจิตรา     ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 
ครั้งที่
สาระการเรียนรู้
เนื้อหารายวิชา
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
วิธีการจัดการเรียนรู้
ในห้องเรียน
ตนเอง
สื่ออิเล็กทรอนิกส์
สอนเสริม
3
10 พ.ย.56
ทักษะการเรียนรู้สู่ความเป็นอาเซียน










หัวเรื่องการเรียนรู้ด้วยตนเอง
1.ความหมายความสำคัญของการเรียนรู้ด้วยตนเอง
2.การกำหนดเป้าหมายและการวางแผนการเรียนรู้ด้วยตนเอง
3.ทักษะพื้นฐานทางการศึกษาหาความรู้ ทักษะการแก้ปัญหา และเทคนิคในการเรียนรู้ด้วยตนเอง
4.ปัจจัยที่ทำให้การเรียนรู้ด้วยตนเองประสบความสำเร็จ
5.การวางแผนการเรียนรู้ และการประเมินผลการเรียนรู้ด้วยตนเอง
6.การฝึกทักษะวางแผนการเรียนรู้และการประเมินผลการเรียนรู้ด้วยตนเอง การวิจารณ์
หัวเรื่อง การใช้แหล่งเรียนรู้
1.ความหมาย ความสำคัญ ประเภทแหล่งเรียนรู้ เข้าถึงสารสนเทศ แหล่งเรียนรู้อื่นๆ ที่สำคัญ รวมทั้งการใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการเรียนรู้ของตนเอง
2. ข้อควรคำนึงในการศึกษาเรียนรู้กับแหล่งข้อมูลต่างๆ รวมทั้งนวัตกรรมและเทคโนโลยี
หัวเรื่อง พัฒนาการอาเซียน
1.ความเป็นมาของอาเซียน
2.วัตถุประสงค์ในการก่อตั้งและประเทศสมาชิกอาเซียน
3.ความหมาย ความสำคัญ ของประชาคมอาเซียนและกฎบัตรอาเซียน
อัตลักษณ์ของ กศน.เขตบางบอน 
1.มารยาทไทย
1.สามารถวิเคราะห์ เห็นความสำคัญ และปฏิบัติการแสวงหาความรู้จากการอ่าน ฟัง และสรุปได้ถูกต้องตามหลักวิชาการ
2.สามารถจำแนก จัดลำดับความสำคัญ และเลือกใช้แหล่งเรียนรู้ได้อย่างเหมาะสม
3.สามารถจำแนกผลที่เกิดขึ้นจากขอบเขตความรู้ ตัดสินคุณค่า กำหนดแนวทางพัฒนา
4.ความสามารถในการศึกษา เลือกสรร จัดเก็บ และการวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลทั้งสามประการ และการใช้เทคนิค ในการฝึกทักษะ การคิดเป็น เพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจแก้ปัญหา
5.สามารถวิเคราะห์ปัญหา ความจำเป็น เห็นความสัมพันธ์ของกระบวนการวิจัยกับการนำไปใช้ในชีวิต และดำเนินการวิจัยทดลองตามขั้นตอน
6.อธิบายความหมาย ความสำคัญ ประเภทแหล่งเรียนรู้ การใช้ห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้อื่นๆ ที่สำคัญรวมทั้งการใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการเรียนรู้ของตนเอง
7.บ่งชี้ข้อดีข้อเสียของแหล่งเรียนรู้
8.ปฏิบัติการเรียนรู้กับแหล่งเรียนรู้ต่างๆได้เหมาะสม 
9.บอกประวัติความเป็นมาของอาเซียนได้
10.เข้าใจวัตถุประสงค์ในการก่อตั้งประเทศสมาชิกอาเซียนและ บอกความหมาย, ความสำคัญของประชาคมอาเซียนและกฎบัตรอาเซียนได้
11.สามารถปฏิบัติตนได้ตามมารยาทไทย การแสดงความเคารพ
1.วิธีการ
- ครูและผู้เรียนร่วมกันศึกษาและกำหนดแนวทางที่หลากหลายเกี่ยวกับเนื้อหารายวิชา
- ครูมอบหมายให้ผู้เรียนแบ่งกลุ่มประมาณ 5 -7 คน เพื่อสรุปเนื้อหาจากการเรียนการสอน
1.วิธีการ
-ให้ผู้เรียนฝึกทักษะการแก้ปัญหา, การหาความรู้ด้วยตนเอง, การวางแผนและการประเมินผลการเรียนรู้, การใช้อินเตอร์เน็ตและการเข้าถึงข้อมูล
-ให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติตนให้ถูกต้องตามมารยาทไทย
- ครูติดตามให้คำปรึกษา แนะนำ ทบทวนการเรียนรู้ที่ได้ปฏิบัติมา
1. วิธีการ
- ให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมจากอินเตอร์เน็ตในเรื่องแก้ปัญหา, การหาความรู้ด้วยตนเอง, การวางแผนและการประเมินผลการเรียนรู้ ความเป็นมา, วัตถุประสงค์ในการก่อตั้ง, ความหมาย, ความสำคัญของประชาคมอาเซียนและกฎบัตรอาเซียน

2. สื่อ/แหล่งความรู้
- เนื้อหารายวิชา
- แบบหลักฐานการเรียน
2. สื่อ/แหล่งความรู้
- สื่อแบบเรียน
- แบบหลักฐานการเรียน
2. สื่อ/แหล่งความรู้
- เว็บไซด์ที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ด้วยตนเอง

3.วัดผลและประเมินผล
- แบบทดสอบย่อย
- การสังเกต
-ใบงาน
3. วัดผลและประเมินผล
- บันทึกการฝึกทักษะ
- รายงานการเรียนรู้ด้วยตนเอง
- แฟ้มสะสมผลงาน
3. วัดผลและประเมินผล
- รายงานที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าจากทางอินเตอร์เน็ต
- บันทึกการเรียนรู้


  
แผนการจัดการเรียนรู้ของครู กศน. ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตบางบอน
สถานที่พบกลุ่ม  ศูนย์การเรียนชุมชน  2 ปีการศึกษา 2556
 ประจำเดือน  พฤศจิกายน  2556
ชื่อ ครู กศน. นางสาวภัทรนันท์  สว่างวิจิตรา     ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 
ครั้งที่
สาระการเรียนรู้
เนื้อหารายวิชา
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
วิธีการจัดการเรียนรู้
ในห้องเรียน
ตนเอง
สื่ออิเล็กทรอนิกส์
สอนเสริม
4
17 พ.ย. 56
- หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
- วิธีเรียน
- กระบวนการจัดการเรียนการสอน
- การวัดผลประเมินผล
- นโยบาย จุดเน้นของสถานศึกษา
ปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ เพื่อชี้แจงกระบวนวิธีการเรียน ข้อตกลงในการพบกลุ่ม การวิเคราะห์เนื้อหาความยากง่ายร่วมกัน ระหว่างครูกับผู้เรียน  แนวทางการจบการศึกษา แนวทางการเทียบโอน วิธีการศึกษาตลอดหลักสูตร เกณฑ์การจบการศึกษา กิจกรรมของสถานศึกษา
ผู้เรียนทราบรายละเอียดโครงสร้าง วิธีการเรียน การทำกิจกรรม กพช. และอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
1.วิธีการ  ครูชี้แจงเกี่ยวกับ
- วิธีเรียน
- กระบวนการจัดการเรียนการสอน
- การวัดผลประเมินผล
- นโยบาย จุดเน้นของสถานศึกษา
ให้ผู้เรียนทราบ
ผู้เรียนใช้ทักษะการเรียนรู้ ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองจากคู่มือนักศึกษา แหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญา อินเตอร์เน็ท และสื่อต่าง ๆ


2. สื่อ/แหล่งความรู้
- คู่มือปฐมนิเทศ
2. สื่อ/แหล่งความรู้
- สื่อแบบเรียน
- แบบหลักฐานการเรียน
2. สื่อ/แหล่งความรู้
- เว็บไซด์ที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ด้วยตนเอง

3.วัดผลและประเมินผล
-ครูและผู้เรียนสรุปสาระสำคัญการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
-ประเมินผลการการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
3. วัดผลและประเมินผล
- บันทึกการฝึกทักษะ
- รายงานการเรียนรู้ด้วยตนเอง
- แฟ้มสะสมผลงาน
3. วัดผลและประเมินผล
- รายงานที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าจากทางอินเตอร์เน็ต
- บันทึกการเรียนรู้



แผนการจัดการเรียนรู้ของครู กศน. ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตบางบอน
สถานที่พบกลุ่ม  ศูนย์การเรียนชุมชน  2 ปีการศึกษา 2556
 ประจำเดือน  พฤศจิกายน  2556
ชื่อ ครู กศน. นางสาวภัทรนันท์  สว่างวิจิตรา     ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 
ครั้งที่
สาระการเรียนรู้
เนื้อหารายวิชา
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
วิธีการจัดการเรียนรู้
พบกลุ่ม
ตนเอง
สื่ออิเล็กทรอนิกส์
สอนเสริม
5
24 พ.ย. 56
ทักษะการเรียนรู้สู่ความเป็นอาเซียน










หัวเรื่อง การจัดการความรู้
1.ความหมาย ความสำคัญ หลักการ กระบวนการจัดการความรู้ การรวมกลุ่มเพื่อต่อยอดความรู้ การพัฒนาขอบข่ายความรู้ของกลุ่ม การจัดทำสารสนเทศเผยแพร่ความรู้
2. ทักษะกระบวนการจัดการความรู้ด้วยตนเองและด้วยการรวมกลุ่มปฏิบัติการ
3.สรุปองค์ความรู้ของกลุ่ม จัดทำสารสนเทศองค์ความรู้ในการพัฒนาตนเอง ครอบครัว
หัวเรื่อง การคิดเป็น
1.ความเชื่อพื้นฐานทางการศึกษาผู้ใหญ่/ การศึกษานอกระบบ ที่เชื่อมโยงมาสู่ปรัชญา คิดเป็น
5.ความหมาย ความสำคัญของ การคิดเป็น
2.การรวบรวมและวิเคราะห์สภาพปัญหา ของตนเอง ครอบครัว ชุมชน และคิดวิเคราะห์ โดยใช้ข้อมูลด้านตนเอง ด้านวิชาการ และ ด้านสังคมสิ่งแวดล้อม
3.กระบวนการและเทคนิคการเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ และสังเคราะห์ข้อมูล ทั้ง ๓ ประการ ของบุคคล ครอบครัว และชุมชน เพื่อประกอบการคิด การตัดสินใจ
4.การกำหนดแนวทางทางเลือกที่หลากหลายในการแก้ปัญหาอย่าง มีเหตุผล มีคุณธรรม จริยธรรม และมีความสุขอย่างยั่งยืน การประยุกต์ใช้อย่างมีเหตุผลเหมาะสมกับตนเอง ครอบครัว และ ชุมชน/สังคม
หัวเรื่อง ผลงานของกลุ่มอาเซียน
1.โครงสร้างกลไกการดำเนินงานของกลุ่มอาเซียน
2.ความสำคัญในการร่วมมือของอาเซียน
อัตลักษณ์ของ กศน.เขตบางบอน 
1.มารยาทไทย
1.อธิบายความหมาย ความสำคัญ หลักการ กระบวนการจัดการความรู้ การรวมกลุ่มเพื่อต่อยอดความรู้ การพัฒนาขอบข่ายความรู้ของกลุ่ม การจัดทำสารสนเทศเผยแพร่ความรู้
2.ปฏิบัติการด้านทักษะกระบวนการจัดการความรู้ด้วยตนเองและด้วยการรวมกลุ่มปฏิบัติการ
3.สรุปองค์ความรู้ของกลุ่ม จัดทำสารสนเทศองค์ความรู้ในการพัฒนาตนเอง ครอบครัว
4. อธิบายความหมาย ความสำคัญ ของการคิดเป็น
5.รวบรวมและวิเคราะห์สภาพปัญหา ของตนเอง ครอบครัว ชุมชน และคิดวิเคราะห์ โดยใช้ข้อมูลด้านตนเอง ด้านวิชาการ และด้านสังคม สิ่งแวดล้อม
6.กำหนดแนวทางทางเลือกที่หลากหลายในการแก้ปัญหาอย่างมีเหตุผล มีคุณธรรม จริยธรรม และมีความสุข การประยุกต์ใช้อย่างมีเหตุผลเหมาะสมกับตนเอง ครอบครัว และชุมชน/สังคม  
7.บอกโครงสร้างและกลไกการดำเนินงานของอาเซียนและความสำคัญในการร่วมมือของอาเซียนได้
8.สามารถปฏิบัติตนได้ตามมารยาทไทย การรับของและการส่งของ
1.วิธีการ
- ครูและผู้เรียนร่วมกันศึกษาและกำหนดแนวทางที่หลากหลายเกี่ยวกับเนื้อหารายวิชา
-ฝึกการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และเก็บรวบรวมข้อมูลในการแก้ปัญหาอย่างมีเหตุผล
- ครูมอบหมายให้ผู้เรียนแบ่งกลุ่มประมาณ 5 -7 คน เพื่อสรุปเนื้อหาจากการเรียนการสอน
1.วิธีการ
-ให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าหลักการ และกระบวนการของการจัดการความรู้ การฝึกปฏิบัติจริงโดยการรวมกลุ่มปฏิบัติการ/ชุมชนปฏิบัติการ สรุปองค์ความรู้ของกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกลุ่ม ยกระดับความรู้ และจัดทำสารสนเทศเผยแพร่ความรู้
-ให้ผู้เรียนทบทวนศึกษาความหมาย ความ สำคัญของการคิดเป็น และกลไกการดำเนินงานของอาเซียนและความสำคัญในการร่วมมือของอาเซียน
-ให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติตนให้ถูกต้องตามมารยาทไทย
- ครูติดตามให้คำปรึกษา แนะนำ ทบทวนการเรียนรู้ที่ได้ปฏิบัติมา
1. วิธีการ
- ให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมจากอินเตอร์เน็ตในเรื่องหลักการ และกระบวนการของการจัดการความรู้ ,ความหมาย ความ สำคัญของการคิดเป็น ผลงานของกลุ่มอาเซียนรวมถึงหลักปรัชญาความพอเพียง






2. สื่อ/แหล่งความรู้
- เนื้อหารายวิชา
- แบบหลักฐานการเรียน
2. สื่อ/แหล่งความรู้
- สื่อแบบเรียน
- แบบหลักฐานการเรียน
2. สื่อ/แหล่งความรู้
- เว็บไซด์ที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ด้วยตนเอง

3.วัดผลและประเมินผล
- แบบทดสอบย่อย
- การสังเกต
-ใบงาน
3. วัดผลและประเมินผล
- บันทึกการฝึกทักษะ
- รายงานการเรียนรู้ด้วยตนเอง
- แฟ้มสะสมผลงาน
3. วัดผลและประเมินผล
- รายงานที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าจากทางอินเตอร์เน็ต
- บันทึกการเรียนรู้


  
แผนการจัดการเรียนรู้ของครู กศน. ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตบางบอน
สถานที่พบกลุ่ม  ศูนย์การเรียนชุมชน  ภาคเรียนที่  2 ปีการศึกษา 2556
 ประจำเดือน  ธันวาคม  2556
ชื่อ ครู กศน. นางสาวภัทรนันท์  สว่างวิจิตรา     ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ครั้งที่
สาระการเรียนรู้
เนื้อหารายวิชา
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
วิธีการจัดการเรียนรู้
พบกลุ่ม
ตนเอง
สื่ออิเล็กทรอนิกส์
สอนเสริม
6
1 ธ.ค. 56
ทักษะการเรียนรู้สู่ความเป็นอาเซียน











หัวเรื่อง การวิจัยอย่างง่าย
1.ความหมาย ความสำคัญการวิจัยอย่างง่าย กระบวนการและขั้นตอน ของการดำเนินงาน
2.สถิติง่าย ๆ เพื่อการวิจัย
3.การสร้างเครื่องมือการวิจัย
4.การเขียนโครงการวิจัยอย่างง่ายๆ
5.ทักษะการวิจัยในอาชีพ การเขียนรายงานวิจัย การนำเสนอและเผยแพร่งานวิจัย
หัวเรื่อง ผลงานของกลุ่มอาเซียน
1.การเตรียมตัวเพื่อเข้าสู่อาเซียนอย่างมีประสิทธิภาพ
อัตลักษณ์ของ กศน.เขตบางบอน 
1.มารยาทไทย
1.อธิบายความหมาย ความ สำคัญการวิจัยอย่างง่าย กระบวนการและขั้นตอนของการดำเนินงาน
2. อธิบาย และฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับสถิติง่ายๆ เพื่อการวิจัย
3. สร้างเครื่องมือการวิจัยอย่างง่ายๆ
4.ปฏิบัติการเขียนโครงการวิจัยอย่างง่าย ๆ และมีทักษะการวิจัยในอาชีพ การเขียนรายงานวิจัย การนำเสนอ และเผยแพร่งานวิจัย
4.สรุปผลการประชุมกลุ่มอาเซียนในรอบปีที่ผ่านมา
5.อธิบาย สรุปปัญหาและอุปสรรคที่สำคัญของอาเซียนได้
6.เข้าใจและปฏิบัติตนได้ตามอัตลักษณ์ของ กศน.เขตบางบอน
1.วิธีการ
- ครูและผู้เรียนร่วมกันศึกษาและกำหนดแนวทางที่หลากหลายเกี่ยวกับเนื้อหารายวิชา
- จัดให้ผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้า เอกสารที่เกี่ยวข้อง  ฝึกทักษะการสังเกตและค้นหาปัญหาที่พบในชีวิตประจำวัน /ในสาระที่เรียน  การตั้งคำถาม การแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเพื่อน/ผู้รู้   การคาดเดาคำตอบอย่างมีเหตุผล / การตั้งสมมติฐาน การฝึกปฏิบัติการเขียนโครงการวิจัยที่มีความซับซ้อนขึ้น  การเก็บรวบรวมข้อมูล  การสร้างเครื่องมือ การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพื้นฐาน การนำเสนอข้อมูล  การสรุปข้อมูลและเขียนรายงานผล การเผยแพร่ข้อค้นพบ


- ครูมอบหมายให้ผู้เรียนแบ่งกลุ่มประมาณ 5 -7 คน เพื่อสรุปเนื้อหาจากการเรียนการสอน
1.วิธีการ
-ให้ผู้เรียนศึกษา ค้นคว้า เอกสารที่เกี่ยวข้อง  ฝึกทักษะการสังเกตและค้นหาปัญหาที่พบในชีวิตประจำวัน /ในสาระที่เรียน 
-ให้ผู้เรียนศึกษาเกี่ยวกับหลักปรัชญาความพอเพียง
- ครูติดตามให้คำปรึกษา แนะนำ ทบทวนการเรียนรู้ที่ได้ปฏิบัติมา
1. วิธีการ
- ให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมจากอินเตอร์เน็ตในเรื่องการเขียนโครงการวิจัย, ผลงานของกลุ่มอาเซียนรวมถึงมารยาทไทย






2. สื่อ/แหล่งความรู้
- เนื้อหารายวิชา
- แบบหลักฐานการเรียน
2. สื่อ/แหล่งความรู้
- สื่อแบบเรียน
- แบบหลักฐานการเรียน
2. สื่อ/แหล่งความรู้
- เว็บไซด์ที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ด้วยตนเอง

3.วัดผลและประเมินผล
- แบบทดสอบย่อย
- การสังเกต
-ใบงาน
3. วัดผลและประเมินผล
- บันทึกการฝึกทักษะ
- รายงานการเรียนรู้ด้วยตนเอง
- แฟ้มสะสมผลงาน
3. วัดผลและประเมินผล
- รายงานที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าจากทางอินเตอร์เน็ต
- บันทึกการเรียนรู้


  
แผนการจัดการเรียนรู้ของครู กศน. ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตบางบอน
สถานที่พบกลุ่ม  ศูนย์การเรียนชุมชน  ภาคเรียนที่  2 ปีการศึกษา 2556
 ประจำเดือน  ธันวาคม  2556
ชื่อ ครู กศน. นางสาวภัทรนันท์  สว่างวิจิตรา       ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ครั้งที่
สาระการเรียนรู้
เนื้อหารายวิชา
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
วิธีการจัดการเรียนรู้
พบกลุ่ม
ตนเอง
สื่ออิเล็กทรอนิกส์
สอนเสริม
7
8 ธ.ค.56
ภาษาไทยกับความพอเพียง

หัวเรื่อง ฟังให้รู้ ดูให้เห็น พูดให้เป็น
1.หลักการฟัง การดู และการพูด
2.สรุปความ จับประเด็นใจความสำคัญของเรื่องที่ฟัง การดู และการพูด
3.การวิเคราะห์ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็นและสรุปความ
4. หลักการแสดงความคิดเห็น
5.การพูดเป็นทางการ และไม่เป็นทางการ
6.ศิลปะการพูดประเภทต่างๆ เช่นพูดแนะนำตนเอง, กล่าวต้อนรับ, กล่าวขอบคุณ, พูดโน้มน้าวใจ/ปฏิเสธ, เจรจาต่อรอง, แสดงความคิดเห็น, อธิบาย, สุนทรพจน์และโต้วาที
7. มารยาทในการฟัง ดูและพูด
หัวเรื่อง สนุกกับวรรณกรรมไทย
1.หลักการตีความ แปลความและขยายความ
2.การอ่านบทประพันธ์ที่ไพเราะทั้งร้อยแก้วและร้อยกลอง
3.ความหมายของวรรณคดี, วรรณกรรมปัจจุบัน และวรรณกรรมท้องถิ่น
4. การอ่านวรรคทองในวรรณคดี จากเรื่องขุนช้างขุนแผน, พระอภัยมณี, อิเหนา, นิทานเวตาล, นิราศพระบาท, นิราศภูเขาทอง, ร่ายยาวมหาเวสสันดรชาดก, มัทนพาธา และพระมหาชนก(ทศชาติชาดก)
5.แนวคิดและค่านิยมที่ปรากฏในวรรณคดี และด้านสังคม
6. คุณค่าของวรรณคดี และวรรณกรรมด้านวรรณศิลป์
7.หลักการวิเคราะห์ วิจารณ์และประเมินค่าวรรณคดี, วรรณกรรมปัจจุบันเช่น บทละครโทรทัศน์ นวนิยาย เรื่องสั้น บทเพลงต่างๆ และวรรณกรรมท้องถิ่นเช่น ไกรทอง นางสิบสอง ปลาบู่ทอง ฯลฯ
8.การมีมารยาทในการอ่าน
หัวเรื่อง ความพอเพียง
1.ความเป็นมา ความหมายหลักแนวคิด
2.ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับการจัดการความรู้
หัวเรื่อง ความจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์
1.เห็นคุณค่าของสื่อในการฟัง การดูและการพูด
2.วิจารณ์ความมีเหตุสมผล การลำดับความและความเป็นไปได้ของเรื่องที่ฟัง การดูและการพูด
3.นำเสนอความรู้ ความคิดเห็นที่ได้จากการฟัง การดูและการพูด
4.ใช้ศิลปะการพูดที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการได้อย่างเหมาะสมกับโอกาสและบุคคล
5.วิเคราะห์ ประเมินค่าการใช้ภาษาพูดจากสื่อต่างๆ
6.ปฏิบัติตนเป็นผู้มีมารยาทในการฟัง การดูและการพูด
7.ตีความ แปลความและขยายความเรื่องที่อ่าน
8.วิจารณ์ ความสมเหตุสมผล การลำดับความคิดและความเป็นไปได้ของเรื่องที่อ่าน
9.อธิบายความหมายของภาษาถิ่นสำนวนสุภาษิตที่ปรากฎในวรรณคดี วรรณกรรมปัจจุบัน และวรรณกรรมท้องถิ่น
10.อธิบายคุณค่าวรรณคดี วรรณกรรมปัจจุบัน และวรรณกรรมท้องถิ่น
11.วิเคราะห์ วิจารณ์และประเมินค่าวรรณคดี, วรรณกรรมปัจจุบัน และวรรณกรรมท้องถิ่นในฐานะที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรมของชาติแล้วนำไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิต
12.เลือกใช้สื่อในการค้นคว้าหาความรู้ที่หลากหลาย
13.มีมารยาทในการอ่านและมีนิสัยรักการอ่าน
14.อธิบายความเป็นมา ความหมายและหลักแนวคิดของ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
15. รู้เข้าใจและวิ เคราะห์แนวคิด หลักการปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง
16.มีความตระหนักถึง พระมหากรุณาธิคุณของสถาบันพระมหากษัตริย์ที่มีต่อประเทศไทย
1.วิธีการ
- ครูและผู้เรียนร่วมกันศึกษา, กำหนดแนวทางที่หลากหลายและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ที่มีเกี่ยวกับเนื้อหารายวิชา
-ครูและผู้เรียนร่วมกันจัดโต้วาทีโดยให้ผู้เรียนเสนอประเด็นโต้วาที โดยให้ผู้เรียน เสนอประเด็นการโต้วามีร่วมกัน
- กำหนดผู้รับผิดชอบแต่ละบทบาทโดยให้ทุกคนมีส่วนร่วมและต้องใช้ศิลปะการพูดทุกประเภท เช่น การพูด แนะนำการพูดต้อนรับ พูดแสดงความคิดเห็น
-กำหนดกลุ่มผู้สังเกตการณ์ เพื่อสรุปข้อดีข้อเสียของผู้รับผิดชอบแต่ละบทบาท โดยยึดหลักวิชาการในการวิจารณ์
-กลุ่มผู้สังเกตการณ์นำเสนอผลการสังเกต ร่วมกันแสดงความคิดเห็นเพื่อแก้ไขข้อบกพร่อง สรุปจัดทำรายงาน และรวบรวมไว้ในแฟ้มสะสมงาน
1.วิธีการ
-ให้ผู้เรียนฝึกการพูด อ่าน เขียนและฟังวรรณกรรมไทย
-ให้ผู้เรียนฟังหรือดูรายการข่าว/รายการสารคดีทางวิทยุหรือโทรทัศน์ ๑ รายการแล้วให้สรุปประเด็นจากเรื่องที่ฟังหรือดูตามหลักการที่ได้ศึกษาจากนั้นให้วิเคราะห์ข้อเท็จจริงนำเสนอต่อกลุ่มตามความคิดเห็นของตนเอง และ รวบรวมไว้ในแฟ้มสะสมงาน
-ให้ผู้เรียนศึกษาเกี่ยวกับหลักปรัชญาความพอเพียง
- ครูติดตามให้คำปรึกษา แนะนำ ทบทวนการเรียนรู้ที่ได้ปฏิบัติมา

1. วิธีการ
- ให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมจากอินเตอร์เน็ตในเรื่อง การพูด อ่าน เขียน และฟัง การโต้วาที การพูดลักษณะต่างๆ รวมถึงหลักปรัชญาความพอเพียง


2. สื่อ/แหล่งความรู้
- เนื้อหารายวิชา
- แบบหลักฐานการเรียน
- สื่อ vcd
2. สื่อ/แหล่งความรู้
- สื่อแบบเรียน
- แบบหลักฐานการเรียน
2. สื่อ/แหล่งความรู้
- เว็บไซด์ที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ด้วยตนเอง

3.วัดผลและประเมินผล
- แบบทดสอบย่อย
- การสังเกต
-ใบงาน
3. วัดผลและประเมินผล
- บันทึกการฝึกทักษะ
- รายงานการเรียนรู้ด้วยตนเอง
- แฟ้มสะสมผลงาน
3. วัดผลและประเมินผล
- รายงานที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าจากทางอินเตอร์เน็ต
- บันทึกการเรียนรู้


  
แผนการจัดการเรียนรู้ของครู กศน. ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตบางบอน
สถานที่พบกลุ่ม  ศูนย์การเรียนชุมชน  ภาคเรียนที่  2 ปีการศึกษา 2556
 ประจำเดือน  ธันวาคม  2556
ชื่อ ครู กศน. นางสาวภัทรนันท์  สว่างวิจิตรา       ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ครั้งที่
สาระการเรียนรู้
เนื้อหารายวิชา
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
วิธีการจัดการเรียนรู้
พบกลุ่ม
ตนเอง
สื่ออิเล็กทรอนิกส์
สอนเสริม
8
15 ธ.ค.55
ภาษาไทยกับความพอเพียง

หัวเรื่อง พัฒนาการเขียนเพื่องานอาชีพ
1.การเขียนแผนภาพความคิด
2. การเขียนย่อความ
3. การเขียนเรียงความ
4. การเขียนจดหมาย
5. การเขียนอธิบาย
6. การเขียนชี้แจง โน้มน้าวใจ
7. การเขียนแสดงทัศนะ
8. การเขียนคำขวัญ
9. การเขียนคำโฆษณา
10. หลักการเขียนโวหารแบบต่าง ๆ
11. การเขียนพรรณนาและการเขียนบรรยายเหตุการณ์
12.หลักการเขียนรายงานทางวิชาการ
13.หลักการเขียนอ้างอิง
14.การกรอกแบบพิมพ์ประเภทต่างๆ เช่น กรอกใบสมัครงาน กรอกใบสมัครเรียน กรอกใบคำร้องต่างๆ
15.การปฏิบัติตนเป็นผู้มีมารยาทในการเขียนและมีนิสัยรักการเขียน
หัวเรื่อง ชุมชนพอเพียง
1. ความหมาย ความสำคัญการ บริหารจัดการชุมชน
2. การบริหารจัดการชุมชนตาม หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
3. กระบวนการ เทคนิคการ บริหารจัดการชุมชน
หัวเรื่อง การแก้ปัญหาชุมชน
1. ปัญหาของชุมชนด้านสังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมพื้นฐานของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
2. การพัฒนาชุมชนด้านสังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมตามหลักแนวคิด ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
3. การมีส่วนร่วมแก้ปัญหาหรือ พัฒนาชุมชนด้านสังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมโดยใช้ปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง
4. การส่งเสริม เผยแพร่ ขยายผลงานการปฏิบัติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของบุคคล ชุมชนที่ประสบผลสำเร็จ
หัวเรื่อง ความจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์
1. เขียนแผนภาพความคิด เขียนย่อความ เรียงความ จดหมาย เขียนอธิบาย ชี้แจ้ง โน้มน้าวใจ แสดงทัศนะและการเขียนเชิงสร้างสรรค์ โดยใช้หลักการเขียนและโวหารต่างๆ ได้ถูกต้องตามอักขระวิธีและระดับภาษา
2.แต่งคำประพันธ์ประเภทร้อยกรองได้ถูกต้องตามฉันทลักษณ์และใช้ถ้อยคำที่ไพเราะ
3.การกรอกแบบพิมพ์ประเภทต่างๆ ได้ถูกต้อง
4.ปฏิบัติตนเป็นผู้มีมารยาทในการเขียนและมีการจดบันทึกอย่างสม่ำเสมอ
5. อธิบายความหมาย ความสำคัญและการบริหารจัดการชุมชน ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
6. วิเคราะห์กระบวนการ เทคนิค การบริหารจัดการชุมชนและ ประยุกต์ ใช้ ในการดำ เนินชีวิต อย่างสมดุลพร้อมรับต่อการ เปลี่ยนแปลงของชุมชน
7. สำรวจและวิ เคราะห์ปัญหา ของชุมชนด้านสังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรม-พื้นฐานของหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
8. อธิบายแนวทางพัฒนาชุมชน ด้าน สังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมตาม หลักแนวคิดปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงได้
9. เสนอแนวทางและมีส่วนร่วม ในการแก้ปัญหาหรือพัฒนา ชุมชนด้านสังคมเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมโดยใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
10. มีส่วนร่วมในการส่งเสริม เผยแพร่ขยายผลงานการปฏิบัติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของบุคคล ชุมชนที่ประสบผลสำเร็จ
11.มีความตระหนักถึง พระมหากรุณาธิคุณของสถาบันพระมหากษัตริย์ที่มีต่อประเทศไทย
1.วิธีการ
- ครูและผู้เรียนร่วมกันศึกษาและกำหนดแนวทางที่หลากหลายเกี่ยวกับเนื้อหารายวิชา
- จัดกลุ่มผู้เรียนกลุ่มละ
4-6 คน ให้ผู้เรียนเลือกทำโครงงานตามความสนใจ
กลุ่มที่ 1 การจัดทำวารสารชุมชน
กลุ่มที่ 2 การเขียนบทความ/สารคดี
กลุ่มที่ 3การเขียนคำขวัญ
กลุ่มที่ 4 การเขียนข้อความโฆษณาและประชาสัมพันธ์
กลุ่มที่ 5 การเขียนแผนภาพความคิด
-ให้แต่ละกลุ่มศึกษาแนวการเขียนลักษณะต่าง ๆ (รูปลักษณ์ เนื้อหา กลุ่มเป้าหมาย ฯลฯ)
- นำเสนอยกร่างผลงานที่จัดทำขึ้นกับเพื่อนๆ แล้วให้เพื่อนร่วมกันประเมินพร้อมทั้งให้เหตุผลและแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาให้ดีขึ้น
-เชิญผู้เชี่ยวชาญหรือผู้รู้มาเป็นวิทยากรบรรยาย ผู้เรียนฟังวิทยากร จดบันทึก ซักถามรวมทั้งตรวจสอบความถูกต้องของผลงาน
-ครูและผู้เรียนร่วมกันสรุปและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับงานเขียนในลักษณะต่างๆ รวมถึงการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
1.วิธีการ
-ให้ผู้เรียนฝึกเขียนแบบต่างๆ โดยใช้หลักการเขียนที่ถูกต้อง
-ให้ผู้เรียนไปค้นคว้าในหัวข้อ
-การบริหารจัดการชุมชนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
-การวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดในชุมชนและการนำมาประยุกต์ ใช้ในชีวิตเช่น ปัญหายาเสพติด ปัญหาคนว่างงาน ปัญหาสิ่งแวดล้อม
- ครูติดตามให้คำปรึกษา แนะนำ ทบทวนการเรียนรู้ที่ได้ปฏิบัติมา
-ให้ผู้เรียนไปศึกษาค้นคว้าดังนี้
1.ปัญหาที่พบในชุมชน ในหัวข้อ (เลือก1ปัญหา)
- ปัญหาด้านชุมชนสังคม
- ปัญหาด้านเศรษฐกิจ
-ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม
2.การแก้ปัญหา
3.การพัฒนาชุมชน

1. วิธีการ
- ให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมจากอินเตอร์เน็ตในเรื่องหลักการเขียน, คำประพันธ์ประเภทต่างๆ, มารยาทในการเขียน


2. สื่อ/แหล่งความรู้
- เนื้อหารายวิชา
- แบบหลักฐานการเรียน
- สื่อ vcd
- รูปภาพ
- แผ่นพับ ใบปลิว
2. สื่อ/แหล่งความรู้
- สื่อแบบเรียน
- แบบหลักฐานการเรียน
- ภูมิปัญญาท้องถิ่น
- ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
2. สื่อ/แหล่งความรู้
- เว็บไซด์ที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ด้วยตนเอง

3.วัดผลและประเมินผล
- แบบทดสอบย่อย
- ประเมินจากการฝึกปฏิบัติ
-ใบงาน
3. วัดผลและประเมินผล
- บันทึกการฝึกทักษะ
- รายงานการเรียนรู้ด้วยตนเอง
- แฟ้มสะสมผลงาน
3. วัดผลและประเมินผล
- รายงานที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าจากทางอินเตอร์เน็ต
- บันทึกการเรียนรู้

  
แผนการจัดการเรียนรู้ของครู กศน. ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตบางบอน
สถานที่พบกลุ่ม  ศูนย์การเรียนชุมชน  ภาคเรียนที่  2 ปีการศึกษา 2556
 ประจำเดือน  ธันวาคม  2556
ชื่อ ครู กศน. นางสาวภัทรนันท์  สว่างวิจิตรา       ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ครั้งที่
สาระการเรียนรู้
เนื้อหารายวิชา
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
วิธีการจัดการเรียนรู้
พบกลุ่ม
ตนเอง
สื่ออิเล็กทรอนิกส์
สอนเสริม
9
22 ธ.ค.56
ภาษาไทยกับความพอเพียง

หัวเรื่อง ภาษาพาสนุก
1. ธรรมชาติของภาษา
- การเปลี่ยนแปลงของภาษา
- ลักษณะของภาษา
- พลังของภาษา
2. การใช้ถ้อยคำ สำนวน สุภาษิต คำพังเพย
3. โครงสร้างของประโยค รูปประโยค และชนิดของประโยค
4. ระดับภาษา
5. คำสุภาพ
6. คำราชาศัพท์
7. การแต่งคำประพันธ์ประเภทร้อยกรอง
หัวเรื่องสถานการณ์ของประเทศกับความพอเพียง
1.การวิเคราะห์สถานการณ์ของ ประเทศโดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เช่น สถานการณ์ของประเทศที่เกี่ยวข้องกับผู้เรียน เช่นภาวะเงินเฟ้อ ราคาผลผลิตตกต่ำ ค่าครองชีพสูง ฯลฯ
2. การเลือกแนวทางการดำเนิน ชีวิตภายใต้สถานการณ์ของ ประเทศโดยใช้ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
หัวเรื่อง สถานการณ์ของโลกกับความพอเพียง
1. การวิเคราะห์สถานการณ์ของ โลก ประเทศภายใต้ กระแส โลกาภิวัตน์ที่เกี่ยวข้อง เช่น ภาวะโลกร้อน น้ำมันเชื้อเพลิง ฯลฯ
2. การเลือกแนวทางการดำเนินชีวิตภายใต้ สถานการณ์ของโลก ประเทศโดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  
หัวเรื่อง ความจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์
1.อธิบายธรรมชาติของภาษาและใช้ประโยคตามเจตนาของการสื่อสาร
2เลือกใช้ถ้อยคำ สำนวน สุภาษิต คำพังเพยให้ ตรงความหมาย
3. ใช้ประโยคได้ถูกต้องตามเจตนาของผู้ส่งสาร
4. ใช้คำสุภาพ และคำราชาศัพท์ให้ถูกต้องตาม ฐานะและบุคคล
5. แต่งคำประพันธ์ประเภทร้อยกรอง
6. อธิบายและวิเคราะห์การพัฒนาประเทศตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
7.ประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิตอย่างสมดุลและพร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงของประเทศชาติ
8.วิเคราะห์สถานการณ์โลกประเทศในการพัฒนาประเทศให้ ก้าวหน้าไปได้ ให้ ก้าวหน้าไปได้ อย่างสมดุลภายใต้ กระแสโลกาภิวัตน์
9.ตระหนักในความสำคัญของการพัฒนาประเทศภายใต้ กระแสโลกาภิวั ตน์และเลือกแนวทาง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมา ประยุกต์ ใช้ ในการดำ เนินชีวิต อย่างสมดุลและพร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงของประเทศภายใต้กระแสโลก
10.มีความตระหนักถึง พระมหากรุณาธิคุณของสถาบันพระมหากษัตริย์ที่มีต่อประเทศไทย
1.วิธีการ
- ครูและผู้เรียนร่วมกันศึกษาและกำหนดแนวทางที่หลากหลายเกี่ยวกับเนื้อหารายวิชา
- ครูสุ่มตัวอย่างผู้เรียนให้เขียนชื่อบนกระดาษ จำนวน 10คน
- ผู้เรียนช่วยกันบอกว่ารายชื่อทั้ง 10 มีภาษาไทยแท้ กี่คน
-ครูสอบถามผู้เรียนว่าเราสังเกตจากอะไรบ้างที่บอกว่าคำใด คือคำไทยแท้
- ครูอธิบายถึงธรรมชาติของภาษา
-ครูให้ผู้เรียนแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักภาษา
-ครูบรรยายเกี่ยวกับคำราชาศัพท์ที่สำคัญในปัจจุบัน และโครงการคำประพันธ์ประเภทร้อยกรอง ชนิดต่างๆ
-ครูอธิบายความแตกต่างระหว่างวรรณคดีและวรรณกรรม
-ให้ผู้เรียนแบ่งกลุ่มๆละ 5 คน ช่วยกันเขียน กฮ และให้ปากกาสีแดงขีดเส้นใต้อักษรสูง ขีดเส้นใต้สีน้ำเงินใต้อักษรกลางส่วนที่ไม่ขีดเป็นอักษรต่ำ
- ครูสุ่มนำเสนอ 3 – 4 กลุ่ม และอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับภาษาไทยและหลักการจำอักษรภาษาไทย ประเภทของคำ โครงสร้างประโยค ชนิดของประโยค
- ครูให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่ม ยกตัวอย่างสำนวน สุภาษิต คำพังเพย โดยให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนไม่ซ้ำคนไปเขียนสำนวน สุภาษิต คำพังเพย บนกระดาษบรู๊ฟ ภายในเวลา 10 นาที ทีมไหนเขียนได้มากที่สุดเป็นทีมชนะ
-ครูสุ่มแต่ละกลุ่มถามความหมายของคำ
-ครูใช้บัตรคำเพื่อให้ผู้เรียนตอบลงในสมุดบันทึกว่าบัตรคำนั้นเป็นคำประเภทใด คำเป็น คำตาย คำมูล คำประสม คำราชาศัพท์ ฯลฯ
-ครูให้ผู้เรียนยกตัวอย่างวรรณคดีที่รู้สึกประทับใจ และสุมเลือกนักศึกษา1คนนำเสนอหน้าชั้นเรียนบอกเหตุผลเพราะอะไร
1.วิธีการ
-ให้ผู้เรียนฝึกการพูด อ่าน เขียน และฟัง
-ให้ผู้เรียนไปศึกษาค้นคว้าในหัวข้อต่อไปนี้
-ปัญหาค่าครองชีพ
-ปัญหาความยากจน
-ปัญหาราคาผลผลิตตกต่ำ
-ให้ ผู้ เรียนทำ การศึกษาค้นคว้าในเรื่อง ต่อไปนี้
- สภาวะโลกร้อน/เรือนกระจก
-พลังงานธรรมชาติ เช่น นํ้ามันเชื้อเพลิง ก๊าซ ไฟฟ้า
- ครูติดตามให้คำปรึกษา แนะนำ ทบทวนการเรียนรู้ที่ได้ปฏิบัติมา

1. วิธีการ
- ให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมจากอินเตอร์เน็ตในเรื่อง สถานการณ์ของโลกและประเทศไทย


2. สื่อ/แหล่งความรู้
- เนื้อหารายวิชา
- แบบหลักฐานการเรียน
- สื่อ vcd
2. สื่อ/แหล่งความรู้
- สื่อแบบเรียน
- แบบหลักฐานการเรียน
2. สื่อ/แหล่งความรู้
- เว็บไซด์ที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ด้วยตนเอง

3.วัดผลและประเมินผล
- แบบทดสอบย่อย
-การสังเกตความร่วมมือขณะเรียน
-ใบงาน, ผลงาน
3. วัดผลและประเมินผล
- บันทึกการฝึกทักษะ
- รายงานการเรียนรู้ด้วยตนเอง
- แฟ้มสะสมผลงาน
3. วัดผลและประเมินผล
- รายงานที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าจากทางอินเตอร์เน็ต
- บันทึกการเรียนรู้

แผนการจัดการเรียนรู้ของครู กศน. ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตบางบอน
สถานที่พบกลุ่ม  ศูนย์การเรียนชุมชน  ภาคเรียนที่  2 ปีการศึกษา 2556
 ประจำเดือน  ธันวาคม  2556
ชื่อ ครู กศน. นางสาวภัทรนันท์  สว่างวิจิตรา       ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ครั้งที่
สาระการเรียนรู้
เนื้อหารายวิชา
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
วิธีการจัดการเรียนรู้
พบกลุ่ม
ตนเอง
สื่ออิเล็กทรอนิกส์
สอนเสริม
10
29 ธ.ค.56
หรรษากับการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเพลิดเพลิน

หัวเรื่องการร้องเพลงภาษาอังกฤษ (sing English)
1.     เพลง Thank You
2.     เพลง Loy Krathong
3.     เพลง Jingle Bells
4.     เพลง We wish you a Mary Christmas
5.     เพลง The Valentine’s Day Song
หัวเรื่องการอ่าน
1. ข้อความ
2. ข่าว
3. ประกาศโฆษณา
4. บทร้อยกรอง
5. บทละครสั้น (skit)
1.เข้าร่วมกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมด้วยการร้องเพลง
2. อ่านออกเสียงข้อความ, ข่าว, ประกาศ, โฆษณา, บทร้อยกรอง
1.วิธีการ
- ครูและผู้เรียนร่วมกันศึกษาและกำหนดแนวทางที่หลากหลายเกี่ยวกับเนื้อหารายวิชา
- ครูมอบหมายให้ผู้เรียนแบ่งกลุ่มประมาณ 5 -7 คน เพื่อสรุปเนื้อหาจากการเรียนการสอน
1.วิธีการ
-ให้ผู้เรียนหาและฝึกร้องเพลงภาษาอังกฤษ
- ครูติดตามให้คำปรึกษา แนะนำ ทบทวนการเรียนรู้ที่ได้ปฏิบัติมา
- นัดหมายเพื่อประเมินผล
1. วิธีการ
- ให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมจากอินเตอร์เน็ตในเรื่อง เพลงภาษาอังกฤษ


2. สื่อ/แหล่งความรู้
- เนื้อหารายวิชา
- แบบหลักฐานการเรียน
- สื่อ vcd
- Power Point
2. สื่อ/แหล่งความรู้
- สื่อแบบเรียน
- แบบหลักฐานการเรียน
2. สื่อ/แหล่งความรู้
- เว็บไซด์ที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ด้วยตนเอง

3.วัดผลและประเมินผล
- แบบทดสอบย่อย
- ประเมินจากการพูดโต้ตอบกัน
-ใบงาน
3. วัดผลและประเมินผล
- บันทึกการฝึกทักษะ
- รายงานการเรียนรู้ด้วยตนเอง
- แฟ้มสะสมผลงาน
3. วัดผลและประเมินผล
- รายงานที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าจากทางอินเตอร์เน็ต
- บันทึกการเรียนรู้

  
แผนการจัดการเรียนรู้ของครู กศน. ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตบางบอน
สถานที่พบกลุ่ม  ศูนย์การเรียนชุมชน  ภาคเรียนที่  2 ปีการศึกษา 2556
ประจำเดือน  มกราคม 2557
ชื่อ ครู กศน. นางสาวภัทรนันท์  สว่างวิจิตรา       ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 
ครั้งที่
สาระการเรียนรู้
เนื้อหารายวิชา
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
วิธีการจัดการเรียนรู้
พบกลุ่ม
ตนเอง
สื่ออิเล็กทรอนิกส์
สอนเสริม
11
5 ม.ค.57
หรรษากับการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเพลิดเพลิน

หัวเรื่อง การแสดงบทบาทสมมติ (Role play)
1.     Role Play – At a Restaurant
2.     Role Play – Shopping for Clothes
3.     Role Play – At the Post Office
4.     Role Play – Making Plans on the Phone
5.     Role Play – At the Cinema
6.     Role Play – At a Shoe Store
7.     Role Play – At a Pizza Restaurant
หัวเรื่องการแสดงละครสั้น (Skit)
1.       7-Up Skit
2.       Bean Skit
3.       Doctor Doctor Skit
หัวเรื่องการอ่าน
1.       โครงสร้างประโยค
2.       ข้อความ
3.       สำนวน
1.เลือกใช้ภาษา น้ำเสียงและกริยาท่าทางเหมาะสมกับระดับบุคคลโอกาสและสถานที่ตามมารยาทสังคม และวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา 
2.เข้าร่วมกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมด้วยการแสดงละครสั้น
3. อธิบาย/เปรียบเทียบความ แตกต่างระหว่างโครงสร้าง, ประโยค, ข้อความ,สำนวน
1.วิธีการ
- ครูและผู้เรียนร่วมกันศึกษาและกำหนดแนวทางที่หลากหลายเกี่ยวกับเนื้อหารายวิชา
- ครูมอบหมายให้ผู้เรียนแบ่งกลุ่มประมาณ 5 -7 คน เพื่อสรุปเนื้อหาจากการเรียนการสอน
1.วิธีการ
-ให้ผู้เรียนฝึกการพูดแสดงบทบาทสมมติ (Role play)
- ครูติดตามให้คำปรึกษา แนะนำ ทบทวนการเรียนรู้ที่ได้ปฏิบัติมา
- นัดหมายเพื่อประเมินผล
1. วิธีการ
- ให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมจากอินเตอร์เน็ตในเรื่องการแสดงบทบาทสมมติ (Role play)


2. สื่อ/แหล่งความรู้
- เนื้อหารายวิชา
- แบบหลักฐานการเรียน
- สื่อ
- Power Point
2. สื่อ/แหล่งความรู้
- สื่อแบบเรียน
- แบบหลักฐานการเรียน
2. สื่อ/แหล่งความรู้
- เว็บไซด์ที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ด้วยตนเอง

3.วัดผลและประเมินผล
- แบบทดสอบย่อย
- ประเมินจากการพูดโต้ตอบกัน
-ใบงาน
3. วัดผลและประเมินผล
- บันทึกการฝึกทักษะ
- รายงานการเรียนรู้ด้วยตนเอง
- แฟ้มสะสมผลงาน
3. วัดผลและประเมินผล
- รายงานที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าจากทางอินเตอร์เน็ต
- บันทึกการเรียนรู้



แผนการจัดการเรียนรู้ของครู กศน. ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตบางบอน
สถานที่พบกลุ่ม  ศูนย์การเรียนชุมชน  ภาคเรียนที่  2 ปีการศึกษา 2556
 ประจำเดือน  มกราคม 2557
ชื่อ ครู กศน. นางสาวภัทรนันท์  สว่างวิจิตรา       ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย  
ครั้งที่
สาระการเรียนรู้
เนื้อหารายวิชา
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
วิธีการจัดการเรียนรู้
พบกลุ่ม
ตนเอง
สื่ออิเล็กทรอนิกส์
สอนเสริม
12
12 ม.ค.57
หรรษากับการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเพลิดเพลิน

 หัวเรื่อง เกมทางภาษา  (Language Game)
1.     Christmas Word Search
2.     Valentine’s Day Crossword & Word Search
3.     Easter Word Search
4.     Thanksgiving Crossword
หัวเรื่องการอ่าน
1.       สารคดี
2.       บันเทิงคดี
1.เข้าร่วมกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมด้วยการเล่นเกมทางภาษา
2. จับใจความสำคัญ, วิเคราะห์ความ, สรุป
ความ, ตีความ และสรุปความคิดเห็นจากการอ่านเรื่องที่เป็นสารคดี และบันเทิงคดี พร้อม
ทั้งให้เหตุผล และยกตัวอย่างประกอบ

1.วิธีการ
- ครูและผู้เรียนร่วมกันศึกษาและกำหนดแนวทางที่หลากหลายเกี่ยวกับเนื้อหารายวิชา
- ครูมอบหมายให้ผู้เรียนแบ่งกลุ่มประมาณ 5 -7 คน เพื่อสรุปเนื้อหาจากการเรียนการสอน
1.วิธีการ
-ให้ผู้เรียนศึกษาเพิ่มเติมในเรื่อง เกมทางภาษา  (Language Game)
- ครูติดตามให้คำปรึกษา แนะนำ ทบทวนการเรียนรู้
- นัดหมายเพื่อประเมินผลจากการไปเรียนรู้ด้วยตนเอง
1. วิธีการ
- ให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมจากอินเตอร์เน็ตในเรื่องเกมทางภาษา  (Language Game)

2. สื่อ/แหล่งความรู้
- เนื้อหารายวิชา
- แบบหลักฐานการเรียน
- สื่อ
- Power Point
2. สื่อ/แหล่งความรู้
- สื่อแบบเรียน
- แบบหลักฐานการเรียน
2. สื่อ/แหล่งความรู้
- เว็บไซด์ที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหา

3.วัดผลและประเมินผล
- แบบทดสอบย่อย
- ประเมินจากการพูดโต้ตอบกัน
-ใบงาน
3. วัดผลและประเมินผล
- บันทึกการฝึกทักษะ
- รายงานการเรียนรู้ด้วยตนเอง
3. วัดผลและประเมินผล
- รายงานที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าทางเว็บไซด์



แผนการจัดการเรียนรู้ของครู กศน. ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตบางบอน
สถานที่พบกลุ่ม  ศูนย์การเรียนชุมชน  ภาคเรียนที่  2 ปีการศึกษา 2556
 ประจำเดือน  มกราคม  2557
ชื่อ ครู กศน. นางสาวภัทรนันท์  สว่างวิจิตรา       ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย  
ครั้งที่
สาระการเรียนรู้
เนื้อหารายวิชา
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
วิธีการจัดการเรียนรู้
พบกลุ่ม
ตนเอง
สื่ออิเล็กทรอนิกส์
สอนเสริม
13
19 ม.ค.57
หรรษากับการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเพลิดเพลิน

หัวเรื่องการอ่านข้อความ สำนวน คำพังเพย สุภาษิต บทกลอนภาษาอังกฤษ
- ข้อความ (Reading Comprehension)
- สำนวน (Idioms)
- คำพังเพย (Aphorism)
- สุภาษิต (Proverbs)
- บทกลอนภาษาอังกฤษ (Poem)
หัวเรื่องการนำเสนอข้อมูลข่าวสาร Presentation
1.     การนำเสนอข้อมูลข่าวสาร (Presentation)
2.     การเขียนคำเชิญ (Writing Inviatation)
หัวเรื่องการอ่าน
1. ข้อมูลข่าวสาร
1.อธิบาย และเปรียบ เทียบความแตกต่างระหว่างโครงสร้างประโยค ข้อความ สำนวน คำพังเพย สุภาษิต บทกลอนของภาษาต่างประเทศและภาษาไทย
2.เผยแพร่/ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารโรงเรียน, ชุมชน และท้องถิ่น/ประเทศชาติเป็นภาษา ต่างประเทศ
3. อ่านข้อความเผยแพร่/ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารโรงเรียน, ชุมชนและท้องถิ่นเป็นภาษาต่างประเทศ
1.วิธีการ
- ครูและผู้เรียนร่วมกันศึกษาและกำหนดแนวทางที่หลากหลายเกี่ยวกับเนื้อหารายวิชา
- ครูมอบหมายให้ผู้เรียนแบ่งกลุ่มประมาณ 5 -7 คน เพื่อสรุปเนื้อหาจากการเรียนการสอน
1.วิธีการ
-ให้ผู้เรียนศึกษาเพิ่มเติมในเรื่องการอ่านสำนวนคำพังเพย สุภาษิต บทกลอน ข่าวสาร และคำเชิญภาษาอังกฤษ
- ครูติดตามให้คำปรึกษา แนะนำ ทบทวนการเรียนรู้
- นัดหมายเพื่อประเมินผลจากการไปเรียนรู้ด้วยตนเอง
1. วิธีการ
- ให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมจากอินเตอร์เน็ตในเรื่องสำนวน คำพังเพย สุภาษิต บทกลอน ข่าวสาร และคำเชิญภาษาอังกฤษ

2. สื่อ/แหล่งความรู้
- เนื้อหารายวิชา
- แบบหลักฐานการเรียน
- สื่อ vcd
- Power Point
2. สื่อ/แหล่งความรู้
- สื่อแบบเรียน
- แบบหลักฐานการเรียน
2. สื่อ/แหล่งความรู้
- เว็บไซด์ที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหา

3.วัดผลและประเมินผล
- บันทึกการเรียนรู้
- Quiz
- รายงานการเรียนรู้,
3. วัดผลและประเมินผล
- บันทึกการฝึกทักษะ
- รายงานการเรียนรู้ด้วยตนเอง
3. วัดผลและประเมินผล
- รายงานที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าทางเว็บไซด์

  

แผนการจัดการเรียนรู้ของครู กศน. ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตบางบอน
สถานที่พบกลุ่ม  ศูนย์การเรียนชุมชน  ภาคเรียนที่  2 ปีการศึกษา 2556
 ประจำเดือน  กุมภาพันธ์  2557
ชื่อ ครู กศน. นางสาวภัทรนันท์  สว่างวิจิตรา       ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย  
ครั้งที่
สาระการเรียนรู้
เนื้อหารายวิชา
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
วิธีการจัดการเรียนรู้
พบกลุ่ม
ตนเอง
สื่ออิเล็กทรอนิกส์
สอนเสริม
14
26 ม.ค.57
วิทยาศาสตร์
หัวเรื่อง  ทักษะทางวิทยาศาสตร์ และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
1 ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และทักษะทางวิทยาศาสตร์
2 กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
3 วัสดุ และ อุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์
หัวเรื่อง โครงงานวิทยาศาสตร์
1 ประเภทโครงงานวิทยาศาสตร์
2 ขั้นตอนการทำโครงงานวิทยาศาสตร์
3 การนำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์
หัวเรื่อง เซลล์
1 เซลล์
2 กระบวนการแบ่งเซลล์ แบบไบโทซีส และ ไปโอซิล
หัวเรื่อง พันธุกรรมและความหลากหลายทางชีวภาพ
1 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
2 ความหลากหลายทางชีวภาพ
หัวเรื่อง เทคโนโลยีชีวภาพ
1. ความหมายและความสำคัญของเทคโนโลยีชีวภาพ
2. ปัจจัยที่มีผลต่อเทคโนโลยีชีวภาพ

3. เทคโนโลยีชีวภาพในชีวิตประจาวัน
4.ภูมิปัญญาท้องถิ่นเกี่ยวกับเทคโนโลยี ชีวภาพ
5.ประโยชน์และผลกระทบของเทคโน โลยีชีวภาพ
หัวเรื่อง คุณธรรม 9 ประการ
1.ขยัน
2.ประหยัด
3.ซื่อสัตย์
4. มีวินัย
5.สุภาพ
1.อธิบายธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และทักษะทางวิทยาศาสตร์
2.อธิบายขั้นตอนกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
3.อธิบายและบอกวิธีการใช้วัสดุและอุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์
4.อธิบายประเภทเลือกหัวข้อ วางแผน วิธีนำเสนอและประโยชน์ของโครงงานได้
5. วางแผนและทำโครงงานวิทยาศาสตร์ได้
6. อธิบายและบอกแนวทางในการนาผลจากโครงงานไปใช้ได้
7.อธิบายกระบวนการถ่ายทอดทางพันธุกรรม การแปรผันทางพันธุกรรม การผ่าเหล่า และการเกิดความหลากหลายทางชีวภาพ
8.อธิบายลักษณะทางพันธุกรรมได้
9. อธิบายความหลากหลายทางชีวภาพและการจัดหมวดหมู่สิ่งมีชีวิตได้

10.อธิบายเกี่ยวกับเทคโนโลยี ชีวภาพ และประโยชน์ได้
11.อธิบายผลของเทคโนโลยี ชีวภาพต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อมได้
12. อธิบายบทบาทของภูมิปัญญาท้องถิ่นเกี่ยวกับเทคโนโลยีชีวภาพได้
13. มีความตระหนักถึงคุณธรรม 9 ประการ
1.วิธีการ
- ครูและผู้เรียนร่วมกันศึกษาและกำหนดแนวทางที่หลากหลายเกี่ยวกับเนื้อหารายวิชา
- ครูมอบหมายให้ผู้เรียนแบ่งกลุ่มประมาณ 5 -7 คน เพื่อสรุปเนื้อหาจากการเรียนการสอน
1.วิธีการ
-ให้ผู้เรียนศึกษาเพิ่มเติมในเรื่องโครงงานวิทยาศาสตร์, เซลล์, พันธุกรรม
- ครูติดตามให้คำปรึกษา แนะนำ ทบทวนการเรียนรู้
- นัดหมายเพื่อประเมินผลจากการไปเรียนรู้ด้วยตนเอง
1. วิธีการ
- ให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมจากอินเตอร์เน็ตในเรื่องเทคโนโลยีชีวภาพ

2. สื่อ/แหล่งความรู้
- เนื้อหารายวิชา
- แบบหลักฐานการเรียน
- สื่อ vcd
- Power Point
2. สื่อ/แหล่งความรู้
- สื่อแบบเรียน
- แบบหลักฐานการเรียน
2. สื่อ/แหล่งความรู้
- เว็บไซด์ที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหา

3.วัดผลและประเมินผล
- บันทึกการเรียนรู้
- Quiz
- รายงานการเรียนรู้,
3. วัดผลและประเมินผล
- บันทึกการฝึกทักษะ
- รายงานการเรียนรู้ด้วยตนเอง
3. วัดผลและประเมินผล
- รายงานที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าทางเว็บไซด์

  

แผนการจัดการเรียนรู้ของครู กศน. ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตบางบอน
สถานที่พบกลุ่ม  ศูนย์การเรียนชุมชน  ภาคเรียนที่  2 ปีการศึกษา 2556
 ประจำเดือน  กุมภาพันธ์  2557
ชื่อ ครู กศน. นางสาวภัทรนันท์  สว่างวิจิตรา       ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 
ครั้งที่
สาระการเรียนรู้
เนื้อหารายวิชา
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
วิธีการจัดการเรียนรู้
พบกลุ่ม
ตนเอง
สื่ออิเล็กทรอนิกส์
สอนเสริม
15
2 ก.พ..57
วิทยาศาสตร์
หัวเรื่อง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
1 กระบวนการเปลี่ยนแปลงแทนที่ของสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมในชุมชน
2 การใช้ทรัพยากรธรรมชาติระดับท้องถิ่น ประเทศและระดับโลก
3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยาที่มีผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
4 ปัญหาและผลกระทบของระบบนิเวศและสภาพสิ่งแวดล้อมในชุมชน ท้องถิ่น ประเทศและโลก
5 แนวทางการแก้ไขปัญหาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในชุมชน
6 การวางแผนการพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
7 สภาวะโลกร้อน สาเหตุและผลกระทบ การป้องกัน และแก้ปัญหาโลกร้อน
หัวเรื่อง ธาตุ สมบัติของธาตุและธาตุ

กัมมันตรังสี
1.ธาตุ
2. ตารางธาตุ
3. ธาตุกัมมันตภาพรังสี
หัวเรื่อง สมการเคมี และปฏิกิริยาเคมี
1. สมการเคมี
2 หลักการเขียนสมการเคมี
3ปฏิกิริยาเคมีที่พบในชีวิตประจำวัน
หัวเรื่อง โปรตีน คาร์โบไฮเดรต และไขมัน
1 โปรตีน
2 คาร์โบไฮเดรต
3 ลิพิด
หัวเรื่อง คุณธรรม 9ประการ
6.สะอาด
7.สามัคคี
8.มีน้ำใจ
9.กตัญญู
1. อธิบายกระบวนการเปลี่ยนแปลงแทนที่ของสิ่งมีชีวิตได้
2. อธิบายการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ สภาพปัญหาสิ่งแวดล้อมในระดับท้องถิ่น ระดับประเทศและระดับโลกได้
3. อธิบายสาเหตุของปัญหาวางแผน และลงมือปฏิบัติได้
4. อธิบายการป้องกัน แก้ไข เฝ้าระวังอนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้
5.อธิบายปรากฏการณ์ของธรณีวิทยาที่มีผลกระทบต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม
6. อธิบาย ปรากฏการณ์ สภาวะโลกร้อน สาเหตุและผลกระทบต่อชีวิตมนุษย์
7.อธิบายเกี่ยวกับโครงสร้างอะตอม ตารางธาตุ สมการและปฏิกิริยาเคมีที่พบในชีวิตประจำวัน
 8.อธิบายการเกิดสมการเคมีและ

ปฏิกิริยาเคมีและดุลสมการเคมีได้
9. อธิบายปัจจัยที่มีผลต่อปฏิกิริยาเคมีได้
10. อธิบายผลที่เกิดจากปฏิกิริยาเคมีต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อมได้
11. อธิบายสมบัติ ชนิด ประเภทการเกิด และประโยชน์ของโปรตีนได้
12. อธิบายสมบัติ ชนิด ประเภทการเกิด และประโยชน์ของคาร์โบไฮเดรตได้
13. อธิบายสมบัติ ชนิด ประเภทการเกิด และประโยชน์ของไขมันได้
14. มีความตระหนักถึงคุณธรรม 9ประการ
1.วิธีการ
- ครูและผู้เรียนร่วมกันศึกษา และกำหนดแนวทางที่หลากหลายเกี่ยวกับเนื้อหารายวิชา
- ครูให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติและกลับไปทำเป็นโครงการแผนการพัฒนาการตลาด
1.วิธีการ
-ให้ผู้เรียนศึกษาด้วยตนเองในเรื่องทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
- ครูติดตามให้คำปรึกษา ทบทวนหลักฐานการเรียนรู้ที่ต้องส่ง
- นัดหมายเพื่อประเมินผลหลักฐานการเรียนรู้
1. วิธีการ
- ให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมจากอินเตอร์เน็ตในเรื่อง ธาตุ สมบัติของธาตุและธาตุกัมมันตรังสี สมการเคมี และปฏิกิริยาเคมี


2. สื่อ/แหล่งความรู้
- เนื้อหารายวิชา
- แบบหลักฐานการเรียน
- ใบความรู้
- Power Point
2. สื่อ/แหล่งความรู้
- สื่อแบบเรียน
- แบบหลักฐานการเรียน

2. สื่อ/แหล่งความรู้
- เว็บไซด์ที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาการเรียน

3.วัดผลและประเมินผล
- แบบทดสอบย่อย
- กำหนดหลักฐานการเรียน
- แบบฝึกปฏิบัติ

3. วัดผลและประเมินผล
- บันทึกการเรียนรู้
- รายงานจากงานที่ได้รับมอบหมาย

3. วัดผลและประเมินผล
- รายงานที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าทางเว็บไซด์



แผนการจัดการเรียนรู้ของครู กศน. ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตบางบอน
สถานที่พบกลุ่ม  ศูนย์การเรียนชุมชน  ภาคเรียนที่  2 ปีการศึกษา 2556
 ประจำเดือน  กุมภาพันธ์  2557
ชื่อ ครู กศน. นางสาวภัทรนันท์  สว่างวิจิตรา       ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย  
ครั้งที่
สาระการเรียนรู้
เนื้อหารายวิชา
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
วิธีการจัดการเรียนรู้
พบกลุ่ม
ตนเอง
สื่ออิเล็กทรอนิกส์
สอนเสริม
16
9 ก.พ..57
วิทยาศาสตร์
หัวเรื่อง ปิโตเลียม และพอลิเมอร์
1 ปิโตรเลี่ยม
2 พอลิเมอร์
หัวเรื่อง สารเคมีกับชีวิตและสิ่งแวดล้อม
1 ความสำคัญของสารกับชีวิตและสิ่งแวดล้อม
2 ความจาเป็นที่ต้องใช้สารเคมี
3การใช้สารเคมีที่ถูกต้องและปลอดภัย
4 ผลกระทบที่เกิดจากการใช้สารเคมี
หัวเรื่อง แรงและการเคลื่อนที่
1.แรงและความสัมพันธ์ระหว่างกันการเคลื่อนที่ของอนุภาค
2.ความสัมพันธ์ระหว่างแรงและการเคลื่อนที่ของอนุภาคในสนามโน้มถ่วง สนามแม่เหล็กไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน
หัวเรื่อง เทคโนโลยีอวกาศ
1 ความหมาย ความสำคัญ และความเป็นมาของเทคโนโลยีอวกาศ
2 ประเภทของเทคโนโลยีอวกาศ
3 ประโยชน์ของการใช้เทคโนโลยีอวกาศ
4 โครงการสำรวจอวกาศที่สำคัญในปัจจุบัน
หัวเรื่อง อาชีพช่างไฟฟ้า
1. ประเภทของไฟฟ้า
2. วัสดุอุปกรณ์เครื่องมือช่างไฟฟ้า
3. วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในวงจรไฟฟ้า
การต่อวงจรไฟฟ้าอย่างง่าย
4. กฎของโอห์ม
5. การเดินสายไฟฟ้าอย่างง่าย
6. การใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าอย่างง่าย
7. ความปลอดภัยและอุบัติเหตุจากอาชีพช่างไฟฟ้า
8. การบริหารจัดการและการบริการ
9. โครงงานวิทยาศาสตร์สู่อาชีพ
10. คำศัพท์ทางไฟฟ้า
1.อธิบายหลักการกลั่นลำดับส่วน ผลิต ภัณฑ์และประโยชน์ของผลิตภัณฑ์ปิโตเลี่ยม ผลกระทบจาการใช้ผลิตภัณฑ์ปิโตเลี่ยม
2. อธิบาย ความหมาย ประเภท ชนิดการเกิดและสมบัติของพอลิเมอร์ พอลิเมอร์ในชีวิตประจาวัน ผลกระทบจากการใช้พลาสติก ยาง ยางสังเคราะห์ เส้นและเส้นใยสังเคราะห์
3.อธิบายความสำคัญและความจำเป็นที่ต้องใช้สารเคมีได้
4.อธิบายวิธีการใช้สารเคมีบางชนิดได้ถูกต้อง
5.อธิบายผลกระทบที่เกิดจากการใช้สาร เคมีได้
6.อธิบายความหมายของแรงและความ สัมพันธ์ของการเคลื่อนที่ของอนุภาคได้
7.บอกความสัมพันธ์ระหว่างแรงและการเคลื่อนที่ของอนุภาคในสนามโน้มถ่วง สนามแม่เหล็กได้
8.บอกถึงประโยชน์ของแรงและการเคลื่อนที่ของอนุภาคในชีวิตประจำวันได้
9.บอกความหมาย ความสำคัญ และความเป็นมาของเทคโนโลยีอวกาศได้
10. อธิบายและระบุประเภทของเทคโน โลยีอวกาศได้
11.อธิบายการนาเทคโนโลยีอวกาศมาใช้ประโยชน์ได้
12. บอกโครงการสำรวจอวกาศที่สำคัญในปัจจุบันได้
13.สามารถอธิบาย ออกแบบ วางแผน ทดลอง ทดสอบ ปฏิบัติการเรื่องไฟฟ้าได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย คิด วิเคราะห์ เปรียบเทียบข้อดี ข้อเสีย ของการต่อวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม แบบขนาน แบบผสม ประยุกต์และเลือกใช้ความรู้ และทักษะอาชีพช่างไฟฟ้า ให้เหมาะสมกับด้านบริหารจัดการและการบริการ
14.มีความตระหนักถึงคุณธรรม 9 ประการ
1.วิธีการ
- ครูและผู้เรียนร่วมกันและกำหนดแนวทางที่หลาก หลายเกี่ยวกับเนื้อหารายวิชา
- ให้ผู้เรียนแบ่งกลุ่มเพื่อเรียนรู้ในเรื่องแรงและการเคลื่อนที่, เทคโนโลยีอวกาศ, กฎของโอห์ม, การเดินสายไฟฟ้าอย่างง่าย, การบริหารจัดการและการบริการ
- ให้ผู้เรียนส่งสรุปงานที่ได้รับมอบหมาย
1.วิธีการ
-ให้ผู้เรียนศึกษาด้วยตนเองในเรื่องสารเคมีกับชีวิตและสิ่งแวดล้อม, กฎของโอห์ม, การเดินสายไฟฟ้าอย่างง่าย, การบริหารจัดการและการบริการ
- ครูติดตามให้คำปรึกษา แนะนำ ทบทวนหลักฐานการเรียนรู้ที่ต้องส่ง
- นัดหมายเพื่อประเมินผลหลักฐานการเรียนรู้
1. วิธีการ
- ให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมจากอินเตอร์เน็ตในเรื่อง   ปิโตเลียม และพอลิเมอร์ , โครงงานวิทยาศาสตร์สู่อาชีพ, คำศัพท์ทางไฟฟ้า


2. สื่อ/แหล่งความรู้
- เนื้อหารายวิชา
- แบบหลักฐานการเรียน
- ใบความรู้
- Power Point
2. สื่อ/แหล่งความรู้
- สื่อแบบเรียน
- แบบหลักฐานการเรียน
2. สื่อ/แหล่งความรู้
- เว็บไซด์ที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหา

3.วัดผลและประเมินผล
- บันทึกการเรียนรู้
- Quiz
- รายงานการเรียนรู้,
3. วัดผลและประเมินผล
- บันทึกการฝึกทักษะ
- รายงานการเรียนรู้ด้วยตนเอง
3. วัดผลและประเมินผล
- รายงานที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าทางเว็บไซด์

  

แผนการจัดการเรียนรู้ของครู กศน. ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตบางบอน
สถานที่พบกลุ่ม  ศูนย์การเรียนชุมชน  ภาคเรียนที่  2 ปีการศึกษา 2556
 ประจำเดือน   กุมภาพันธ์ - มีนาคม  2557
ชื่อ ครู กศน. นางสาวภัทรนันท์  สว่างวิจิตรา     ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

ครั้งที่
สาระการเรียนรู้
เนื้อหารายวิชา
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
วิธีการจัดการเรียนรู้
พบกลุ่ม
ตนเอง
สื่ออิเล็กทรอนิกส์
สอนเสริม
17
16 ก.พ..57

สอบเก็บคะแนน รายวิชา
1.ทักษะการเรียนรู้
2.อาเซียนศึกษา
3.ภาษาอังกฤษหรรษา
4.การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเพลิดเพลิน
1. มีความรู้ ความเข้าใจ ในบทเรียน

1.วิธีการ
- ครูจัดให้ผู้เรียนได้รับการทดสอบความรู้ที่ได้เรียนไป



18
23 ก.พ..57

สอบเก็บคะแนน รายวิชา
1.ภาษาไทย
2.เศรษฐกิจพอเพียง
3.วิทยาศาสตร์
1. มีความรู้ ความเข้าใจ ในบทเรียน

1.วิธีการ
- ครูจัดให้ผู้เรียนได้รับการทดสอบความรู้ที่ได้เรียนไป



19
2 มี.ค. 57

  ปัจฉิมนิเทศ 
ชี้แจงรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่อง การวัดและประเมินผล ตารางสอบ และเรื่องอื่นๆที่ควรทราบ ตลอดจนเป็นแนวทางในการปฏิบัติตนเพื่อเข้าสอบปลายภาคเรียนที่ 2 /2556
 ผู้เรียนทราบรายละเอียดต่างๆ และเตรียมความพร้อมในการสอบได้อย่างถูกต้องตามระเบียบกระทรวง ศึกษาธิการว่าด้วยการปฏิบัติของผู้เข้าสอบ
1.วิธีการ
-ครูชี้แจงรายละเอียดเพื่อให้ผู้เรียนทราบ




2. สื่อ/แหล่งความรู้
- คู่มือปัจฉิมนิเทศ



3.วัดผลและประเมินผล
- การสังเกต
- แบบประเมินผล







ความรู้ใหม่ๆ การเขียนโครงงานพัฒนาผู้เรียน




แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาการสื่อสารภาษาตากาล็อกในชีวิตประจำวัน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1          การทักทาย การแนะนำ คำขอโทษ การต้อนรับ การขอบคุณ การตอบรับคำขอบคุณ และการกล่าวลา 2 ชั่วโมง
ตัวชี้วัด
1.      ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจในการฟัง การพูดทักทาย การแนะนำ คำขอโทษ การต้อนรับ การขอบคุณ การตอบรับคำขอบคุณ และการกล่าวลา เป็นภาษาตากาล็อก
2.      ผู้เรียนสามารถพูดทักทาย การแนะนำ คำขอโทษ การต้อนรับ การขอบคุณ การตอบรับคำขอบคุณ และการกล่าวลา เป็นภาษาตากาล็อกได้
3.      ผู้เรียนเห็นคุณค่าและประโยชน์ของการพูดภาษาตากาล็อก
สาระสำคัญ
          การพูดทักทาย การแนะนำ คำขอโทษ การต้อนรับ การขอบคุณ การตอบรับคำขอบคุณ และการกล่าวลาเป็นภาษาพูดที่สามารถบ่งบอกถึงความเป็นชนชาติ ภาษาตากาล็อกคือภาษาประจำชาติของประเทศฟิลิปปินส์ ซึ่งเป็นชนชาติหนึ่งในประชาคมอาเซียนที่เราควรรู้จัก และสามารถฟังและพูดได้
เนื้อหาการพูดทักทาย การแนะนำ คำขอโทษ การต้อนรับ การขอบคุณ การตอบรับคำขอบคุณ และการกล่าวลา
สาระการเรียนรู้
1.      ความรู้
การฟัง การพูดทักทาย การแนะนำ คำขอโทษ การต้อนรับ การขอบคุณ การตอบรับคำขอบคุณ และการกล่าวลา เป็นภาษาตากาล็อกได้
2.      ทักษะ/กระบวนการ
ผู้เรียนสามารถพูดทักทาย การแนะนำ คำขอโทษ การต้อนรับ การขอบคุณ การตอบรับคำขอบคุณ และการกล่าวลา เป็นภาษาตากาล็อกได้
3.      คุณลักษณะอันพึงประสงค์/เจตคติ
ผู้เรียนรู้คุณค่าและประโยชน์ของภาษาตากาล็อก(ร่วมกิจกรรมการเรียนรู้อย่างตั้งใจ)

 กิจกรรมการเรียนรู้
1.      ครูและผู้เรียนร่วมกันสนทนาถึงคำพูดทักทาย การแนะนำ คำขอโทษ การต้อนรับ การขอบคุณ การตอบรับคำขอบคุณ และการกล่าวลา ตามบัตรคำที่กำหนดให้เป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ พร้อมแนะนำให้ผู้เรียนรู้ว่าการพูดทักทาย การแนะนำ คำขอโทษ การต้อนรับ การขอบคุณ การตอบรับคำขอบคุณ และการกล่าวลา นอกจากสามารถพูดเป็นคำภาษาไทยและภาษาอังกฤษแล้ว ยังสามารถพูดเป็นภาษาชาติอื่นได้อีก เช่น ภาษาตากาล็อกของประเทศฟิลิปปินส์
2.      ผู้เรียนฟังและพูดนับพูดทักทาย การแนะนำ คำขอโทษ การต้อนรับ การขอบคุณ การตอบรับคำขอบคุณ และการกล่าวลา เป็นภาษาตากาล็อกตามครู จนคล่อง
3.      ผู้เรียนออกเสียงพูดทักทาย การแนะนำ คำขอโทษ การต้อนรับ การขอบคุณ การตอบรับคำขอบคุณ และการกล่าวลา เป็นภาษาตากาล็อกตามบัตรคำตัวเลขที่ครูชูให้ดูด้วยตนเอง
4.      ผู้เรียนจับคู่ออกเสียงพูดทักทาย การแนะนำ คำขอโทษ การต้อนรับ การขอบคุณ การตอบรับคำขอบคุณ และการกล่าวลา เป็นภาษาตากาล็อกแลกเปลี่ยนให้เพื่อนฟัง
5.      เพื่อการจดจำที่ดีขึ้น ให้ผู้เรียนเขียนคำอ่านคำพูดทักทาย การแนะนำ คำขอโทษ การต้อนรับ การขอบคุณ การตอบรับคำขอบคุณ และการกล่าวลาภาษาตากาล็อก
6.      ผู้เรียนทำแบบทดสอบ เพื่อแสดงความเข้าใจในการเรียนรู้
7.      ผู้เรียนแลกเปลี่ยนแบบทดสอบ เพื่อตรวจสอบความถูกต้องของคำตอบ
8.      ครูแนะนำให้ผู้เรียนไปท่องคำอ่านคำพูดทักทาย การแนะนำ คำขอโทษ การต้อนรับ การขอบคุณ การตอบรับคำขอบคุณ และการกล่าวลา ภาษาตากาล็อกเป็นการบ้าน
9.      ผู้เรียนและครูร่วมกันสนทนาถึงประโยชน์ของภาษาชาติอื่น และภาษาตากาล็อก
สื่อการเรียนรู้
1.      บัตรคำแสดงพูดทักทาย การแนะนำ คำขอโทษ การต้อนรับ การขอบคุณ การตอบรับคำขอบคุณ และการกล่าวลา
2.      แบบทดสอบการพูดทักทาย การแนะนำ คำขอโทษ การต้อนรับ การขอบคุณ การตอบรับคำขอบคุณ และการกล่าวลา
3.      แผนภูมิการพูดทักทาย การแนะนำ คำขอโทษ การต้อนรับ การขอบคุณ การตอบรับคำขอบคุณ และการกล่าวลาเป็นภาษาตากาล็อก
การวัดและประเมินผล
1.      แบบทดสอบความสามารถในการใช้ภาษาระหว่างเรียนและหลังเรียน
2.      แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้
การจบหลักสูตร
1.      มีเวลาเรียน ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
2.      มีผลการเรียนประเมินตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 60
3.      สามารถสื่อสารในสถานการณ์จำลอง ได้อย่างคล่องแคล่วตามศักยภาพ
เอกสารหลักฐานการศึกษา
1.      หลักฐานการประเมินผล
2.      ทะเบียนคุมวุฒิบัตร
3.      วุฒิบัติการศึกษาออกโดยสถานศึกษา
การเทียบโอน
          ผู้เรียนที่จบหลักสูตรนี้สามารถนำไปเทียบโอนผลการเรียนรู้กับหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ในสาระการประกอบอาชีพวิชาเลือกที่สถานศึกษาได้จัดทำขึ้น

  
บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้
ข้อคิดเห็น/ข้อเสนอแนะของผู้บริหาร
....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
                                                              ลงชื่อ.....................................................ผู้บริหาร
                                                              (..................................................................)
ผลการจัดการเรียนรู้
...........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
ปัญหา/อุปสรรคที่พบ
...........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
แนวทางการแก้ไข
...........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
                                                                                                     ลงชื่อ..............................................ครูผู้สอน
                                                             (................................................................)
                      
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2          การนับจำนวน 0-20 เป็นภาษาตากาล็อก 3 ชั่วโมง
ตัวชี้วัด
1.      ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจในการฟัง การพูดนับจำนวน 0-20 เป็นภาษาตากาล็อก
2.      ผู้เรียนสามารถพูดนับจำนวน 0-20 เป็นภาษาตากาล็อกได้
3.      ผู้เรียนเห็นคุณค่าและประโยชน์ของการพูดภาษาตากาล็อก
สาระสำคัญ
          การนับจำนวนเป็นภาษาพูดที่สามารถบ่งบอกถึงความเป็นชนชาติ ภาษาตากาล็อกคือภาษาประจำชาติของประเทศฟิลิปปินส์ ซึ่งเป็นชนชาติหนึ่งในประชาคมอาเซียนที่เราควรรู้จัก และสามารถฟังและพูดได้
เนื้อหาการนับจำนวนเป็นภาษาตากาล็อก
สาระการเรียนรู้
1.      ความรู้
การฟัง การพูดนับจำนวน 0-20 เป็นภาษาตากาล็อกได้
2.      ทักษะ/กระบวนการ
ผู้เรียนสามารถนับจำนวน 0-20 เป็นภาษาตากาล็อกได้
3.      คุณลักษณะอันพึงประสงค์/เจตคติ
ผู้เรียนรู้คุณค่าและประโยชน์ของภาษาตากาล็อก(ร่วมกิจกรรมการเรียนรู้อย่างตั้งใจ)

กิจกรรมการเรียนรู้
1.      ครูและผู้เรียนร่วมกันสนทนาถึงคำอ่านของจำนวนนับตามบัตรคำที่กำหนดให้เป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ พร้อมแนะนำให้ผู้เรียนรู้ว่าการนับจำนวน นอกจากสามารถพูดเป็นคำภาษาไทยและภาษาอังกฤษแล้ว ยังสามารถพูดเป็นภาษาชาติดอื่นได้อีก เช่น ภาษาตากาล็อกของประเทศฟิลิปปินส์
2.      ผู้เรียนฟังและพูดนับจำนวน 0-20 เป็นภาษาตากาล็อกตามครู จนคล่อง
3.      ผู้เรียนออกเสียงนับจำนวน 0-20 เป็นภาษาตากาล็อกตามบัตรคำตัวเลขที่ครูชูให้ดูด้วยตนเอง
4.      ผู้เรียนจับคู่ออกเสียงนับจำนวน 0-20 เป็นภาษาตากาล็อกแลกเปลี่ยนให้เพื่อนฟัง
5.      เพื่อการจดจำที่ดีขึ้น ให้ผู้เรียนเขียนคำอ่านบอกจำนวน 0-20 ภาษาตากาล็อก
6.      ผู้เรียนทำแบบทดสอบ เพื่อแสดงความเข้าใจในการเรียนรู้
7.      ผู้เรียนแลกเปลี่ยนแบบทดสอบ เพื่อตรวจสอบความถูกต้องของคำตอบ
8.      ครูแนะนำให้ผู้เรียนไปท่องคำอ่านนับจำนวน 0-20 ภาษาตากาล็อกเป็นการบ้าน
9.      ผู้เรียนและครูร่วมกันสนทนาถึงประโยชน์ของภาษาชาติอื่น และภาษาตากาล็อก
สื่อการเรียนรู้
1.      บัตรคำแสดงจำนวนตัวเลขอารบิก
2.      แบบทดสอบการนับจำนวน
3.      แผนภูมิการอ่านจำนวนเป็นภาษาตากาล็อก
การวัดและประเมินผล
1.      แบบทดสอบความสามารถในการใช้ภาษาระหว่างเรียนและหลังเรียน
2.      แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้
การจบหลักสูตร
1.      มีเวลาเรียน ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
2.      มีผลการเรียนประเมินตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 60
3.      สามารถสื่อสารในสถานการณ์จำลอง ได้อย่างคล่องแคล่วตามศักยภาพ
เอกสารหลักฐานการศึกษา
1.      หลักฐานการประเมินผล
2.      ทะเบียนคุมวุฒิบัตร
3.      วุฒิบัติการศึกษาออกโดยสถานศึกษา
การเทียบโอน
          ผู้เรียนที่จบหลักสูตรนี้สามารถนำไปเทียบโอนผลการเรียนรู้กับหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ในสาระการประกอบอาชีพวิชาเลือกที่สถานศึกษาได้จัดทำขึ้น

 บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

ข้อคิดเห็น/ข้อเสนอแนะของผู้บริหาร
....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
                                                              ลงชื่อ.....................................................ผู้บริหาร
                                                              (..................................................................)
ผลการจัดการเรียนรู้
...........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
ปัญหา/อุปสรรคที่พบ
...........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
แนวทางการแก้ไข
...........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
                                                                                                     ลงชื่อ..............................................ครูผู้สอน
                                                             (................................................................)


 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 คำศัพท์ และประโยคการใช้ประจำวัน  2 ชั่วโมง
ตัวชี้วัด
1.      ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจในคำศัพท์ และประโยคการใช้ประจำวัน  ภาษาตากาล็อก
2.      ผู้เรียนสามารถพูดคำศัพท์ และประโยคการใช้ประจำวัน  เป็นภาษาตากาล็อกได้
3.      ผู้เรียนเห็นคุณค่าและประโยชน์ของการพูดภาษาตากาล็อก
สาระสำคัญ
          คำศัพท์ และประโยคการใช้ประจำวัน  เป็นภาษาพูดที่สามารถบ่งบอกถึงความเป็นชนชาติ ภาษาตากาล็อกคือภาษาประจำชาติของประเทศฟิลิปปินส์ ซึ่งเป็นชนชาติหนึ่งในประชาคมอาเซียนที่เราควรรู้จัก และสามารถฟังและพูดได้
เนื้อหาคำศัพท์ และประโยคการใช้ประจำวัน 
สาระการเรียนรู้
1.      ความรู้
การฟัง การพูดคำศัพท์ และประโยคการใช้ประจำวัน  เป็นภาษาตากาล็อก
2.      ทักษะ/กระบวนการ
ผู้เรียนสามารถพูดคำศัพท์ และประโยคการใช้ประจำวัน  เป็นภาษาตากาล็อกได้
3.      คุณลักษณะอันพึงประสงค์/เจตคติ
ผู้เรียนรู้คุณค่าและประโยชน์ของภาษาตากาล็อก(ร่วมกิจกรรมการเรียนรู้อย่างตั้งใจ)

กิจกรรมการเรียนรู้
1.      ครูและผู้เรียนร่วมกันสนทนาถึงคำศัพท์ และประโยคการใช้ประจำวัน  ตามบัตรคำที่กำหนดให้เป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ พร้อมแนะนำให้ผู้เรียนรู้ว่าการพูดคำศัพท์ และประโยคการใช้ประจำวัน  นอกจากสามารถพูดเป็นคำภาษาไทยและภาษาอังกฤษแล้ว ยังสามารถพูดเป็นภาษาชาติอื่นได้อีก เช่น ภาษาตากาล็อกของประเทศฟิลิปปินส์
2.      ผู้เรียนฟังและพูดคำศัพท์ และประโยคการใช้ประจำวัน  เป็นภาษาตากาล็อกตามครู จนคล่อง
3.      ผู้เรียนออกเสียงพูดคำศัพท์ และประโยคการใช้ประจำวัน  เป็นภาษาตากาล็อกตามบัตรคำคำศัพท์ และประโยคการใช้ประจำวันที่ครูชูให้ดูด้วยตนเอง
4.      ผู้เรียนจับคู่ออกเสียงพูดคำศัพท์ และประโยคการใช้ประจำวัน  เป็นภาษาตากาล็อกแลกเปลี่ยนให้เพื่อนฟัง
5.      เพื่อการจดจำที่ดีขึ้น ให้ผู้เรียนเขียนคำอ่านคำพูดคำศัพท์ และประโยคการใช้ประจำวัน  ภาษาตากาล็อก
6.      ผู้เรียนทำแบบทดสอบ เพื่อแสดงความเข้าใจในการเรียนรู้
7.      ผู้เรียนแลกเปลี่ยนแบบทดสอบ เพื่อตรวจสอบความถูกต้องของคำตอบ
8.      ครูแนะนำให้ผู้เรียนไปท่องคำอ่านคำศัพท์ และประโยคการใช้ประจำวัน  ภาษาตากาล็อกเป็นการบ้าน
9.      ผู้เรียนและครูร่วมกันสนทนาถึงประโยชน์ของภาษาชาติอื่น และภาษาตากาล็อก
สื่อการเรียนรู้
1.      บัตรคำแสดงคำศัพท์ และประโยคการใช้ประจำวัน 
2.      แบบทดสอบการพูดคำศัพท์ และประโยคการใช้ประจำวัน 
3.      แผนภูมิการพูดคำศัพท์ และประโยคการใช้ประจำวัน  เป็นภาษาตากาล็อก
การวัดและประเมินผล
1.      แบบทดสอบความสามารถในการใช้ภาษาระหว่างเรียนและหลังเรียน
2.      แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้
การจบหลักสูตร
1.      มีเวลาเรียน ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
2.      มีผลการเรียนประเมินตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 60
3.      สามารถสื่อสารในสถานการณ์จำลอง ได้อย่างคล่องแคล่วตามศักยภาพ
เอกสารหลักฐานการศึกษา
1.      หลักฐานการประเมินผล
2.      ทะเบียนคุมวุฒิบัตร
3.      วุฒิบัติการศึกษาออกโดยสถานศึกษา
การเทียบโอน
          ผู้เรียนที่จบหลักสูตรนี้สามารถนำไปเทียบโอนผลการเรียนรู้กับหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ในสาระการประกอบอาชีพวิชาเลือกที่สถานศึกษาได้จัดทำขึ้น


 บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

ข้อคิดเห็น/ข้อเสนอแนะของผู้บริหาร
....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
                                                              ลงชื่อ.....................................................ผู้บริหาร
                                                              (..................................................................)
ผลการจัดการเรียนรู้
...........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
ปัญหา/อุปสรรคที่พบ
...........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
แนวทางการแก้ไข
...........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
                                                                                                     ลงชื่อ..............................................ครูผู้สอน
                                                             (................................................................)









จิตวิทยาการแนะแนวและการให้คำปรึกษา

ความหมายของการแนะแนว

การแนะแนวเป็นกระบวนการช่วยเหลือบุคคลให้สามารถรู้จักตนเอง รู้จักพัฒนาตนเองอย่างมีเหตุผลและใช้ปัญญาในการแก้ไขปัญหาโดยมีข้อมูลประกอบ

ความสำคัญของแนะแนว

การแนะแนวมีความสำคัญและจำเป็นอย่างยิ่งในการช่วยเหลือให้มนุษย์สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีประสิทภาพ ดังนั้นในบทบาทของทางโรงเรียนมีความสำคัญในการดูแลเอาใจใส่นักเรียนในการใช้ชีวิตความเป็นอยู่ทั่วไป

ประโยชน์ของการแนะแนว

การแนะแนวมีประโยชน์และมีบทบาทมากในโรงเรียน เพราะบริการแนะแนวช่วยครูเข้าใจเด็กได้ดียิ่งขึ้น ครูเข้าใจความแตกต่างระหว่างบุคคล จัดกลุมเรียนให้เด็กอย่างเหมาะสม

หน้าที่และหลักการแนะแนว

1.การให้บริการแนะแนวต้องยึดปรัชญาการแนะแนว

2.จัดการให้ครอบคลุมและเป็นระบบต่อเนื่อง

3.การแนะแนวในโรงเรียนจัดบริการให้นักเรียนทุกคน

4.การแนะแนวต้องคำนึงถึงปรัชญาของการแนะแนวที่เน้นความแตกต่างระหว่างบุคคล

5.การแนะแนวเป็นกระบวนการทำงานที่ต้องการความร่วมมือจากหลายๆด้าน

การให้บริการแนะแนวในโรงเรียน

1.ขอบข่ายของการจัดการบริการแนะแนว

การจัดการบริการแนะแนวให้นักเรียนในโรงเรียน ต้องจัดบริการ 3 ขอบข่าย

(1.การแนะแนวการศึกษา

(2.การแนะแนวการศึกษาต่ออาชีพ

(3.การแนะแนวส่วนตัวและสังคม

2.งานบริการแนะแนว

(1.บริการรวบรวมข้อมูลนักเรียนเป็นรายบุคคลคือ เป็นบริการที่ครูแนะแนวได้ใช้เครื่องมือวิธีการต่างๆ ทั้งทดสอบและไม่ใช้ทดสอบเพื่อรวบรวมข้อมูล

(2.บริการสนเทศ  คือการให้บริการสนเทศแก่เด็กวัยรุ่น เป็นก่รนจัดหาและรวบรวมข้อมูลด้านการศึกษา ด้านการศึกษาต่อและอาชีพ ด้านส่วนตัวและสังคมให้มีความหมายนำเสนอด้วยวิธีการหลากหลายเพื่อใช้ในการอย่างถูกต้อง

(3.การบริการให้คำปรึกษา คือ การจัดบริการให้คำปรึกษาเป็นบริการหนึ่งของการแนะแนวที่สามารถนำมาใช้ เพื่อให้ความช่วยเหลือเด็กวัยรุ่นได้ดี เนื่องจากการให้คำปรึกษาเป็นกระบวนการทำงานที่เกี่ยวข้องกับข้อมูล ส่วนตัวและสิทธิส่วนบุคคลของผู้ขอคำปรึกษา ซึ่งมีผลต่อการให้คำปรึกษาอย่างยิ่ง

(4.การบริการจัดการตัวบุคคล คือโรงเรียนมีหน้าที่รับผิดชอบในการจัดวางตัวนักเรียนเพื่อให้ได้เรียนดี มีงานทำที่เหมาะสมกับตนเอง เป็นการช่วยให้เด็กได้ใช้โอกาสต่างๆ ที่มีให้เป็นประโยชน์แก่ตนเองมากที่สุด

(5.การบริการติดตามผล  เป็นการประเมินผลการดำเนินงานแนะแนวที่ทางโรงเรียนได้ดำเนินการไปแล้วนำข้อมูลที่ได้มาประเมินด้วยวิธีการที่หลากหลาย

การให้คำปรึกษา 

-บทบาทของผู้ให้การปรึกษาจึงเป็นการช่วยให้ผู้รับบริการมีโอกาสใช้ศักยภาพพัฒนากระบวนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมให้เกิดขึ้นได้ การให้การปรึกษาแบบสร้างแรงจูงใจเป็นเรื่องของการช่วยผู้รับบริการให้หลุดออกจากภาวะความลังเล ไปสู่ความเชื่อมั่นในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้อย่างคงที่และถาวร

ประเภทของการให้คำปรึกษา

การให้คำปรึกษาสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทดังนี้

1. การให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล (Individual Counseling)

การให้คำปรึกษาจะเป็นการพบกันระหว่างผู้ให้คำปรึกษา 1 คน  กับผู้ขอคำปรึกษา 1 คน โดยร่วมมือกัน  การให้คำปรึกษาแบบนี้มีจุดมุ่งหมายที่จะช่วยให้ผู้ขอรับคำปรึกษาให้สามารถเข้าใจตนเอง  เข้าใจปัญหา และสามารถแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ได้ด้วยตนเอง

2. การให้คำปรึกษาแบบกลุ่ม (Group Counseling)

การให้คำปรึกษาประเภทนี้  หรืออาจเรียกว่าการให้คำปรึกษาเชิงกระบวนการ  เป็นกระบวนการที่บุคคลที่มีความต้องการหรือปัญหาที่คล้ายกันหรือตรงกัน ต้องการปรับปรุงตนเองในเรื่องใดเรื่องหนึ่งหรือต้องการจะแก้ไขปัญหาใดปัญหาหนึ่งร่วมกัน  มารวมกันเป็นกลุ่มเพื่อปรึกษาหารือซึ่งกันและกันโดยมีผู้ให้คำปรึกษาเป็นผู้ช่วยเหลือกลุ่ม

ไม่มีความคิดเห็น:

<marquee direction="left">สมัครเรียน กับ ศกร.ดีสมบุญ</marquee>

เปิดรับสมัครเรียนแล้วค่ะ ศูนย์การเรียนดีสมบุญ กศน.เขตบางบอน เปิดรับสมัครนักศึกษาใหม่   ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565   ระดับชั้น ประถมศึกษา,...